รองศาสตราจารย์ ทันตแพทย์หญิง ดร. สุคนธา เจริญวิทย์

โทรศัพท์ : (02) 218-8873
e-mail : Suconta.C@chula.ac.th

ประวัติการศึกษา
           พ.ศ. 2529         ทันตแพทยศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
           พ.ศ. 2540         Ph.D. ( Developmental Biology ) Tokyo Medical and Dental University , Tokyo, Japan

ประวัติการรับราชการ

พ.ศ. 2532-2543     อาจารย์ ภาควิชากายวิภาคศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พ.ศ. 2545-2548  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภาควิชากายวิภาคศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พ.ศ. 2549-ปัจจุบัน รองศาสตราจารย์ ภาควิชากายวิภาคศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Address :

ภาควิชากายวิภาคศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถ. อังรีดูนังต์ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
Tel. : 02-218-8885
Fax. : 02-218-8870

Expertise : Developmental Biology   

Academic Activities (i.e. Consulting, Reviewer, Guest speaker, Training) :

 Chareonvit S, Sirichompun C, Naksang S and Plodprong C.  “ Degrees and duration of temporary halitosis from odoriferous foods.”  20th Annual Scientific Conferences of the IADR Soth-east Asian Division.  Malacca, Malaysia.

Publications : :

วารสารระดับชาติ

สุคนธา เจริญวิทย์, จินตนา ศิริชุมพันธ์, ศิริรัตน์ นาคแสง, ชัชฎาภรณ์ ปลอดโปร่ง. “ความรุนแรงและระยะเวลาของภาวะกลิ่นปากเหม็น ชั่วคราวจากกระเทียม ต้นหอม และทุเรียน.” วิทยาสารทันตแพทยศาสตร์: ทันตแพทยสมาคมแห่งประเทศไทย, 2548, หน้า 169-177.

วารสารนานาชาติ

1.Osumi-Yamashita N, Kuratani S, Ninomiya Y, Aoki K, Iseki S, Chareonvit S, Doi H, Fujiwara M, Watanabe T and Eto K.  “Cranial anomaly of homozygous rSey rat is associated with a defect in the migration pathway of midbrain crest cells.” Develop. Growth Differ.39, 1997, p.53-67.
2.Chareonvit S, Osumi-Yamashita N, Ikeda M and Eto K.  “Murine forebrain and midbrain crest cells generate different
3. Chareonvit S.  “Distribution of fibronectin, laminin, tenascin, chondroitin sulfate proteoglycan and HNK-1 epitope in the head region of the homozygous rat small eye (rSey) embryos. ”  ScienceAsia 2002: 28: p.87-92.
4.Kriangkrai R, Iseki S, Eto K and Chareonvit S.  “Dual odontogenic origins develop at the early stage of rat maxillary incisor development.” Anat Embryol 2006: 211: p.101-108 
5.Kriangkrai R, Chareonvit S, Yahagi K, Fujiwara M, Eto K and Iseki S.  “Study of Pax-6 mutant rat revealed the association between upper incisor formation and midface formation.” Dev Dynam 2006: 35: p. 2134-2143.